1.1 ความสำคัญ และหลักการของกระบวนการสร้างเสริม และดำรงประสิทธิภาพการทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย
ร่างกายประกอบด้วยเซลล์ต่างๆรวมกันเป็นเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อร่วมทำหน้าที่เรียกว่าอวัยวะและประสานกันเป็นระบบจนเป็นร่างกาย
แนวทางการปฏิบัติ มีดังนี้
1. รักษาอนามัยส่วนบุคคล ได้แก่ อาบน้ำให้สะอาด สวมใส่เสื้อผ้าที่ไม่อับชื้น
2. บริโภคอาหารให้ถูกต้องและเหมาะสม ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเหมาะ
3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
5. ทำจิตใจให้ร่าเริงอยู่เสมอ
6. หลีกเลี่ยงอบายมุขและสิ่งเสพติดให้โทษ
7. ตรวจเช็คร่างกาย
2. บริโภคอาหารให้ถูกต้องและเหมาะสม ทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ในปริมาณที่พอเหมาะ
3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
5. ทำจิตใจให้ร่าเริงอยู่เสมอ
6. หลีกเลี่ยงอบายมุขและสิ่งเสพติดให้โทษ
7. ตรวจเช็คร่างกาย
1.2 ระบบประสาท
ระบบประสาท คือ ระบบที่ประกอบด้วยสมอง ไขสันหลัง และเส้นประสาททั่วร่างกาย ซึ่งจะทำหน้าที่ร่วมกันในการควบคุมการทำงานและการรับความรู้สึกของอวัยวะทุกส่วน รวมถึงความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ และความทรงจำต่าง ๆ
1.2.1 องค์ประกอบของระบบประสาท
แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
1. ระบบประสาทส่วนกลาง
ประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางควบคุมและประสานการทำงานของร่างกายทั้งหมด
สมอง เป็นอวัยวะที่สำคัญและมีขนาดใหญ่กว่าส่วนอื่นในระบบประสาท บรรจุอยู่ในกะโหลกศีรษะ แบ่งออกเป็น 2 ชั้น คือ เกรย์ แมตเตอร์ ซึ่งเป็นที่รวมของเซลล์ประสาท และแอกซอนชนิดไม่มีเยื่อหุ้ม ส่วนชั้นในมีสีขาว เรียกว่า ไวท์ แมตเตอร์ เป็นส่วนของใยประสาทที่ออกจากเซลล์ประสาท
สมองประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ สมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง และสมองส่วนท้าย
1. สมองส่วนหน้า
- ซีรีบรัม อยู่ส่วนหน้าสุดที่มีขนาดใหญ่สุด เกี่ยวกับด้านความจำความนึกคิด เป็นศูนย์กลางควบคุมการทำงานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่อยู่ใต้อำนาจจิตใจ
- ทาลามัส อยู่ด้านหน้าของสมองส่วนกลาง ทำหน้าที่ถ่ายทอดกระแสประสาทที่รับความรู้สึก
- ไฮโพทาลามัส อยู่ใต้ส่วนทาลามัส อยู่ด้านล่างสุดของสมองส่วนหน้า ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจและควบคุมความรู้สึกต่างๆ
- ต่อจากสมองส่วนหน้า ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของลูกตาและม่านตา
3. สมองส่วนท้าย
- ซีรีเบลลัม อยู่ใต้ส่วนล่างของซีรีบรัม ดูแลการทำงานขอส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย และระบบกล้ามเนื้อต่างๆ ควบคุมการทรงตัว
- พอนส์ เป็นส่วนของก้านสมองที่อยู่ด้านหน้าของซีรีเบลลัมติดกับสมองส่วนกลาง ควบคุมการเคี้ยวอาหารและการหลั่งน้ำลาย การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อใบหน้า การหายใจ และการฟัง
- เมดัลลา ออบลองกาตา สมองส่วนสุดท้าย ตอนปลายต่อกับไขสันหลัง เป็นทางผ่านของกระแสประสาท(สมองกับไขสันหลัง) ควบคุมการเต้นของหัวใจ การหายใจ การหมุนเวียนเลือด และการไอ การจาม
2. ระบบประสาทส่วนปลาย
ทำหน้าที่นำความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน
1) เส้นประสาทสมอง 12 คู่
2) เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
3) ประสาทระบบอัตโนมัติ ควบคุมการทำงานของอวัยวะที่อยู่นอกอำนาจของจิตใจโดยไม่รู้สึกตัว
1.2.2 การทำงานของระบบประสาท
ระบบประสาทเป็นระบบที่ทำงานประสานกันกับระบบกล้ามเนื้อ นอกจากนั้นยังรับกระแสประสาทจากอวัยวะภายในต่าง ๆ และส่งกลับไปควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดันเลือด อัตราการเต้นของหัวใจ
การย่อยอาหาร และระบบอื่น ๆ ให้ทำงานตามปกติ
1.2.3 การบำรุงรักษาระบบประสาท
1. ระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ
2. ระมัดระวังไม่ให้เกิดโรคทางสมอง
3. หลีกเลี่ยงยาที่ส่งผลกระทบต่อสมอง
4. หาทางผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่าง ๆ
5. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
ทำหน้าที่นำความรู้สึกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกายไปยังอวัยวะปฏิบัติงาน
1) เส้นประสาทสมอง 12 คู่
2) เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
3) ประสาทระบบอัตโนมัติ ควบคุมการทำงานของอวัยวะที่อยู่นอกอำนาจของจิตใจโดยไม่รู้สึกตัว
1.2.2 การทำงานของระบบประสาท
ระบบประสาทเป็นระบบที่ทำงานประสานกันกับระบบกล้ามเนื้อ นอกจากนั้นยังรับกระแสประสาทจากอวัยวะภายในต่าง ๆ และส่งกลับไปควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดันเลือด อัตราการเต้นของหัวใจ
การย่อยอาหาร และระบบอื่น ๆ ให้ทำงานตามปกติ
1.2.3 การบำรุงรักษาระบบประสาท
1. ระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ
2. ระมัดระวังไม่ให้เกิดโรคทางสมอง
3. หลีกเลี่ยงยาที่ส่งผลกระทบต่อสมอง
4. หาทางผ่อนคลายความเครียดด้วยวิธีต่าง ๆ
5. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย
1.3 ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ เป็นระบบที่เกี่ยวกับการเพิ่มจำนวนของประชากร ทดแทนสิ่งที่มีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป เพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้
1.3.1 อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์ เป็นระบบที่เกี่ยวกับการเพิ่มจำนวนของประชากร ทดแทนสิ่งที่มีชีวิตรุ่นเก่าที่ตายไป เพื่อดำรงเผ่าพันธุ์ไว้ได้
1.3.1 อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEg-UwyW505zNDEqesVj998PAiQYrQ-wy867HCMdrbtic9raLvvnb4EN7hLHGd8yqeTp2qlDBZcBWw5JMGEQvvK-mUtVHv5q8pTxIYj3pu1xyLWGhmwaloaQ5jzCm4rzaPM3jbKoN9ef54M/s1600/Untitled3.jpg)
1. อัณฑะ สร้างอสุจิและฮอร์โมนเพศชาย (เทสโทสเตอโรน)
2. ถุงหุ้มอัณฑะ
3. หลอดเก็บตัวอสุจิ
4. หลอดนำตัวอสุจิ
5. ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ
6. ต่อมลูกหมาก ทายฤทธิ์กรดในท่อปัสสาวะ
7. ต่อมคาวเปอร์ หลั่งสารหล่อลื่น
2. ถุงหุ้มอัณฑะ
3. หลอดเก็บตัวอสุจิ
4. หลอดนำตัวอสุจิ
5. ต่อมสร้างน้ำเลี้ยงอสุจิ
6. ต่อมลูกหมาก ทายฤทธิ์กรดในท่อปัสสาวะ
7. ต่อมคาวเปอร์ หลั่งสารหล่อลื่น
1.3.2 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิง
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEgmKGF-QCXYcBVpoTIeNxufT8QvBV4cLIEt0s7JOv1e0NLKY-msrQtA7v9vA_mUMdYntpDS8PJ05cTQErcSi9LBwqWXZcC57JpPXYAtERLUtlSI-CK8xk6UgM0tdTaVhqhb_m-IHLUPTdQ/s1600/Untitled4.jpg)
1. รังไข่
1) ผลิตไข่
2) สร้างฮอร์โมนเพศญิง (เอสโทรเจนและโพรเจสเทอโรน)
2. ท่อนำไข่ หรือปีกมดลูก เป็นทางผ่านของไข่จากรังไข่เข้าสู่มดลูก
3. มดลูก เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว และเป็นที่เจริญเติบโตขอตัวอ่อน
4. ช่องคลอด
1.3.3 การบำรุงรักษาระบบสืบพันธุ์
1. ดูแลร่างกายให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ
2. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3. งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
5. ทำความสะอาดร่างกายอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ
6. สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ไม่อับชื้น
7. ไม่ใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
8. ไม่สำส่อนทางเพศ
9. เมื่อเกิดสิ่งผิดปกติใด ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์
1.4 ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นระบบที่ผลิตสารรียกว่า "ฮอร์โมน" เป็นต่อมที่ไม่มีท่อหรือรูเปิด จึงลำเลียงสารผ่านทางกระแสเลือดไปสู่อวัยวะเป้าหมาย
2. ท่อนำไข่ หรือปีกมดลูก เป็นทางผ่านของไข่จากรังไข่เข้าสู่มดลูก
3. มดลูก เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมแล้ว และเป็นที่เจริญเติบโตขอตัวอ่อน
4. ช่องคลอด
1.3.3 การบำรุงรักษาระบบสืบพันธุ์
1. ดูแลร่างกายให้แข็งแรงอย่างสม่ำเสมอ
2. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
3. งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์
4. พักผ่อนให้เพียงพอ
5. ทำความสะอาดร่างกายอย่างทั่วถึงและสม่ำเสมอ
6. สวมใส่เสื้อผ้าที่สะอาด ไม่อับชื้น
7. ไม่ใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
8. ไม่สำส่อนทางเพศ
9. เมื่อเกิดสิ่งผิดปกติใด ๆ ควรรีบปรึกษาแพทย์
1.4 ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นระบบที่ผลิตสารรียกว่า "ฮอร์โมน" เป็นต่อมที่ไม่มีท่อหรือรูเปิด จึงลำเลียงสารผ่านทางกระแสเลือดไปสู่อวัยวะเป้าหมาย
1.4.1 ต่อมไร้ท่อในร่างกาย
1. ต่อมใต้สมอง สร้างฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโต และการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดบุตร
2. ต่อมหมวกไต สร้างฮอร์โมนอะดินาลิน, ควบคุมการเผาผลาญอาหาร และควบคุมการดูดซึมเกลือที่ไต
3. ต่อมไทรอยด์ ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นไปได้อย่างเหมาะสม
4. ต่อมพาราไทรอยด์ ควบคุมปริมาณแคลเซียมในเลือดและรักษาความเป็นกรดดด่างในร่างกาย
5. ต่อมที่อยู่ในตับอ่อน สร้างอินซูลินซึ่งควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด
6. รังไข่และอัณฑะ สร้างฮอร์โมนเพศ
7. ต่อมไทมัส ควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
1. ต่อมใต้สมอง สร้างฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโต และการบีบตัวของมดลูกขณะคลอดบุตร
2. ต่อมหมวกไต สร้างฮอร์โมนอะดินาลิน, ควบคุมการเผาผลาญอาหาร และควบคุมการดูดซึมเกลือที่ไต
3. ต่อมไทรอยด์ ควบคุมการเจริญเติบโตของร่างกายให้เป็นไปได้อย่างเหมาะสม
4. ต่อมพาราไทรอยด์ ควบคุมปริมาณแคลเซียมในเลือดและรักษาความเป็นกรดดด่างในร่างกาย
5. ต่อมที่อยู่ในตับอ่อน สร้างอินซูลินซึ่งควบคุมปริมาณน้ำตาลในเลือด
6. รังไข่และอัณฑะ สร้างฮอร์โมนเพศ
7. ต่อมไทมัส ควบคุมการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
1.4.2 การบำรุงรักษาต่อมไร้ท่อ
1. เลือกรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่
2. ดื่มน้ำในปริมาณที่เพียงพอ
3. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ
4. ลดปริมาณเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
5. หลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อระบบต่อมไร้ท่อ
6. พักผ่อนให้เพียงพอ